หลักธรรมนำการตลาด
* ขันธ์ 5
1) รูป รูปธรรม
2) เวทนา ความรู้สึก
3) สัญญา ความกำหนดรู้
4) สังขาร การปรุงแต่งของจิต
5) วิญญาณ ความรู้แจ้งทางสัมผัสทั้ง 5
2) เวทนา ความรู้สึก
3) สัญญา ความกำหนดรู้
4) สังขาร การปรุงแต่งของจิต
5) วิญญาณ ความรู้แจ้งทางสัมผัสทั้ง 5
นี่มัน Marketing mix หรือ 4Ps ชัดๆ
สินค้าและองค์ประกอบที่ก่อให้เกิดเป็นสินค้า
ทั้งปัจจัยที่จับต้องได้ และปัจจัยที่จับต้องไม่ได้
สินค้าและองค์ประกอบที่ก่อให้เกิดเป็นสินค้า
ทั้งปัจจัยที่จับต้องได้ และปัจจัยที่จับต้องไม่ได้
* อริยสัจ 4
1) ทุกข์ สภาวะแห่งทุกข์
2) สมุทัย สาเหตุแห่งทุกข์
3) นิโรธ การดับทุกข์
4) มรรค หนทางดับทุกข์
2) สมุทัย สาเหตุแห่งทุกข์
3) นิโรธ การดับทุกข์
4) มรรค หนทางดับทุกข์
เป็นอื่นไม่ได้ นอกจาก Value chain
* ไตรลักษณ์ 3
1) อนิจจัง ความไม่เที่ยง
2) ทุกขัง ความไม่คงอยู่
3) อนัตตา ความไม่มีตัวตน
2) ทุกขัง ความไม่คงอยู่
3) อนัตตา ความไม่มีตัวตน
เทียบได้กับ Product life cycle (PLC)
ที่จะปรับให้เป็น BCG matrix
ที่จะปรับให้เป็น BCG matrix
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป
ความต้องการคือความตั้งอยู่
แต่จะทำอย่างไรในเมื่อ
สัจธรรมคือความเปลี่ยนแปลง
ความต้องการคือความตั้งอยู่
แต่จะทำอย่างไรในเมื่อ
สัจธรรมคือความเปลี่ยนแปลง
* ศีล 5
1) ไม่ฆ่าสัตว์
2) ไม่ลักทรัพย์
3) ไม่ผิดในกาม
4) ไม่กล่าวเท็จ
5) ไม่ดื่มสุรา
2) ไม่ลักทรัพย์
3) ไม่ผิดในกาม
4) ไม่กล่าวเท็จ
5) ไม่ดื่มสุรา
ข้อกำหนดจริยธรรมทางธุรกิจ
* อิทธิบาท 4
1) ฉันทะ ความพอใจในงานที่ทำ
2) วิริยะ ความเพียรพยายามทำงานให้สำเร็จ
3) จิตตะ ความเอาใจใส่ในการทำงาน
4) วิมังสา ใช้ปัญญาตริตรองแก้ไขข้อบกพร่อง
2) วิริยะ ความเพียรพยายามทำงานให้สำเร็จ
3) จิตตะ ความเอาใจใส่ในการทำงาน
4) วิมังสา ใช้ปัญญาตริตรองแก้ไขข้อบกพร่อง
ว่าด้วยงานพัฒนาตลาดและผลิตภัณฑ์
Market/ Product expansion grid
Market/ Product expansion grid
* ฆราวาสธรรม 4
1) สัจจะ ความซื่อสัตย์ จริงใจ ซื่อตรงต่อกัน
2) ทมะ การข่มใจมิให้ประพฤติชั่ว
3) ขันติ ความอดทน อดกลั้น
4) จาคะ ความเสียสละ แบ่งปันให้กับผู้อื่น
2) ทมะ การข่มใจมิให้ประพฤติชั่ว
3) ขันติ ความอดทน อดกลั้น
4) จาคะ ความเสียสละ แบ่งปันให้กับผู้อื่น
นี่แหละ 5 Forces model
การอยู่ร่วมกันของบุคลากรในตลาด
การอยู่ร่วมกันของบุคลากรในตลาด
* พรหมวิหาร 4
1) เมตตา ปรารถนาให้ผู้อื่นมีสุข
2) กรุณา ปรารถนาให้ผู้อื่นพ้นทุกข์
3) มุทิตา ยินดีเมื่อเห็นผู้อื่นได้ดี
4) อุเบกขา การวางเฉย
2) กรุณา ปรารถนาให้ผู้อื่นพ้นทุกข์
3) มุทิตา ยินดีเมื่อเห็นผู้อื่นได้ดี
4) อุเบกขา การวางเฉย
Sustainable Market - ing Enterprises (SMEs)
การทำการตลาดอย่างสร้างสรรค์และยั่งยืน
การทำการตลาดอย่างสร้างสรรค์และยั่งยืน
* สังคหวัตถุ 4
1) ทาน การเสียสละ
2) ปิยวาจา พูดจาอ่อนหวาน
3) อัตถจริยา ทำสิ่งที่เป็นประโยชน์
4) สมานัตตา เสมอต้นเสมอปลาย
2) ปิยวาจา พูดจาอ่อนหวาน
3) อัตถจริยา ทำสิ่งที่เป็นประโยชน์
4) สมานัตตา เสมอต้นเสมอปลาย
ทักษะที่ต้องมีเพื่อการสร้างแบรนด์
* มรรค 8
1) สัมมาทิฏฐิ ความเข้าใจ
2) สัมมาสังกัปปะ ความใฝ่ใจ
3) สัมมาวาจา การพูดจา
4) สัมมากัมมันตะ การกระทำ
5) สัมมาอาชีวะ การดำรงชีพ
6) สัมมาวายามะ ความพากเพียร
7) สัมมาสติ การระลึกประจำใจ
8) สัมมาสมาธิ ความตั้งใจมั่น
2) สัมมาสังกัปปะ ความใฝ่ใจ
3) สัมมาวาจา การพูดจา
4) สัมมากัมมันตะ การกระทำ
5) สัมมาอาชีวะ การดำรงชีพ
6) สัมมาวายามะ ความพากเพียร
7) สัมมาสติ การระลึกประจำใจ
8) สัมมาสมาธิ ความตั้งใจมั่น
คือการกำหนดแผนกลยุทธ์
* ไตรสิกขา
1) ศีล ฝึกฝนข้อประพฤติปฏิบัติ
2) สมาธิ ฝึกฝนอบรมจิตใจ
3) ปัญญา บ่มเพาะให้เกิดความรู้แจ้ง
2) สมาธิ ฝึกฝนอบรมจิตใจ
3) ปัญญา บ่มเพาะให้เกิดความรู้แจ้ง
ปรับใช้ได้กับ PDCA circle
Plan/ Do/ Check/ Act
Plan/ Do/ Check/ Act
* สัปปุริสธรรม 7
1) ธัมมัญญุตา รู้จักเหตุ
2) อัตถัญญุตา รู้จักผล
3) อัตตัญญุตา รู้จักตน
4) มัตตัญญุตา รู้จักประมาณ
5) กาลัญญุตา รู้จักกาล
6) ปริสัญญุตา รู้จักบริษัท
7) ปุคคลัญญุตา รู้จักบุคคล
2) อัตถัญญุตา รู้จักผล
3) อัตตัญญุตา รู้จักตน
4) มัตตัญญุตา รู้จักประมาณ
5) กาลัญญุตา รู้จักกาล
6) ปริสัญญุตา รู้จักบริษัท
7) ปุคคลัญญุตา รู้จักบุคคล
เกิดเป็น SWOT analysis
* โลกธรรม 8
1) ได้ลาภ
2) ได้ยศ
3) ได้รับการสรรเสริญ
4) ได้สุข
5) เสียลาภ
6) เสื่อมยศ
7) ถูกนินทา
8) ตกทุกข์
2) ได้ยศ
3) ได้รับการสรรเสริญ
4) ได้สุข
5) เสียลาภ
6) เสื่อมยศ
7) ถูกนินทา
8) ตกทุกข์
นึกถึง Profit & Lost management
Comments