การตลาดวิถีพุทธ
การทำการตลาด
คือการค้นหาและตอบสนอง
ต่อความต้องการของผู้บริโภค
เราสามารถนำหลักพระพุทธศาสนา
มาใช้เป็นแนวทางในการค้นหา
ความต้องการของผู้บริโภค
จากหลักความจริง
คือการค้นหาและตอบสนอง
ต่อความต้องการของผู้บริโภค
เราสามารถนำหลักพระพุทธศาสนา
มาใช้เป็นแนวทางในการค้นหา
ความต้องการของผู้บริโภค
จากหลักความจริง
"อริยสัจ 4"
การรับรู้ปัญหาและสภาวะที่เกิดขึ้น (ทุกข์)
ค้นหาหนทางแก้ไขปัญหา (ดับทุกข์)
ให้กับลูกค้าผู้เผชิญกับปัญหา
ด้วยความตั้งใจมั่น
ตามหลักธรรม
การรับรู้ปัญหาและสภาวะที่เกิดขึ้น (ทุกข์)
ค้นหาหนทางแก้ไขปัญหา (ดับทุกข์)
ให้กับลูกค้าผู้เผชิญกับปัญหา
ด้วยความตั้งใจมั่น
ตามหลักธรรม
"พรหมวิหาร 4"
ด้วยหวังให้ลูกค้าพ้นทุกข์จากปัญหา
ให้มีความสุขจากการได้รับบริการ
ด้วยความยินดีปรีดา
ของผู้ให้บริการ
ที่ยึดหลัก
ด้วยหวังให้ลูกค้าพ้นทุกข์จากปัญหา
ให้มีความสุขจากการได้รับบริการ
ด้วยความยินดีปรีดา
ของผู้ให้บริการ
ที่ยึดหลัก
"อิทธิบาท 4"
รักในงานที่ทำ
เพียรทำงานให้ลุล่วง
ใส่ใจ แก้ไขข้อบกพร่อง
เพื่อให้ได้งานที่ออกมาดี
เกิดเป็นประสบการณ์
ที่ลูกค้าประทับใจ
ในการสัมผัส
และเข้าถึง
รักในงานที่ทำ
เพียรทำงานให้ลุล่วง
ใส่ใจ แก้ไขข้อบกพร่อง
เพื่อให้ได้งานที่ออกมาดี
เกิดเป็นประสบการณ์
ที่ลูกค้าประทับใจ
ในการสัมผัส
และเข้าถึง
"ขันธ์ 5"
เห็นเป็นรูปธรรม
เกิดเป็นความรู้สึกประทับใจ
แทรกซึมเข้าไปในจิตใจ
แล้วเกิดเป็นความรัก
ความผูกพันลึกซึ้ง
จนเป็นความภักดี
ต่อตราสินค้า
เห็นเป็นรูปธรรม
เกิดเป็นความรู้สึกประทับใจ
แทรกซึมเข้าไปในจิตใจ
แล้วเกิดเป็นความรัก
ความผูกพันลึกซึ้ง
จนเป็นความภักดี
ต่อตราสินค้า
เข้าถึงในจิตใจของมนุษย์
ศึกษาหลักธรรมให้แตกฉาน
จึงจะเข้าใจหลักการตลาดที่แท้จริง
ศึกษาหลักธรรมให้แตกฉาน
จึงจะเข้าใจหลักการตลาดที่แท้จริง
Comments